วันจันทร์ที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2561

นิยามความหมายการพัฒนาหลักสูตร

นิยามความหมายการพัฒนาหลักสูตร
          ทาบา ( Taba ) ได้กล่าวไว้ว่า การพัฒนาหลักสูตร หมายถึง การเปลี่ยนแปลงปรับปรุงหลักอันเดิมให้ได้ผลดียิ่งขึ้น ทั้งในด้านการวางจุดมุ่งหมาย การจัดเนื้อหาวิชา การเรียนการสอน การวัดประเมินผล และอื่นๆ เพื่อให้บรรลุถึงจุดหมายอันใหม่ที่วางไว้ การเปลี่ยนแปลงหลักสูตรเป็นการเปลี่ยนแปลงทั้งระบบหรือเปลี่ยนแปลงทั้งหมด ตั้งแต่จุดมุ่งหมาย วิธีการ  และการเปลี่ยน แปลงหลักสูตรนี้จะมีผลกระทบทางด้านความคิดและความรู้สึกนึกคิดของผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ส่วนการปรับปรุงหลักสูตร หมายถึง การเปลี่ยนแปลงหลักสูตรเพียงบางส่วนโดยไม่เปลี่ยนแปลงแนวคิดพื้นฐาน หรือรูปแบบของหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตร
ความหมาย

ทาบา (Taba)
สุงัด อุทรานันท์
กุ๊ด (Good)
วิชัย วงษ์ใหญ่
สังเคราะห์ของณิชาพร
  การพัฒนาหลังสูตร
หมายถึง การเปลี่ยนแปลงปรับปรุงหลักอันเดิมให้ได้ ผลดียิ่งขึ้น ทั้งในการวางจุด
มุ่งหมาย การจัดเนื้อหาวิชา
การเรียนการสอน การวัดประเมินผล และอื่นๆ เพื่อ ให้บรรลุถึงจุดหมายอันใหม่
ที่วางไว้ การเปลี่ยนแปลงหลักเป็นการเปลี่ยนแปลงทั้ง
ระบบหรือเปลี่ยนแปลงทั้ง
หมด ตั้งแต่จุดมุ่งหมาย วิธี
การและการเปลี่ยนแปลงหลักสูตรนี้จะมีผลกระทบทางด้านความคิดและความรู้
สึกนึกคิดของผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ส่วนการปรับปรุงหลักสูตร หมายถึง การเปลี่ยนแปลงหลักสูตรเพียง
บางส่วนโดยไม่เปลี่ยนแปลง
แนวคิดพื้นฐาน หรือรูปแบบหลักสูตร
 ได้กล่าวถึงความหมายของการพัฒนหลักสูตรว่า
“ การพัฒนา ” ตรงกับคำในภาษาอังกฤษว่า “Development” มีความหมายอยู่ 2 ลักษณะ คือ
•  การทำให้ดีขึ้นหรือทำให้สมบูรณ์ขึ้น
•  การทำให้เกิดขึ้นด้วย
เหตุนี้การพัฒนาหลักสูตรจึงมีความหมายใน 2 ลักษณะ คือ การทำหลักสูตรที่มีอยู่แล้วให้ดีขึ้น หรือสมบูรณ์ขึ้น กับการสร้างหลักสูตรขึ้นมาใหม่ โดยไม่มีหลักสูตรเดิมเป็นพื้นฐานเลย

การพัฒนาหลักสูตรเกิดได้ 2 ลักษณะ คือ การปรับปรุงและเปลี่ยน แปลงหลักสูตร การปรับ ปรุงหลักสูตรเป็นวิธีการพัฒนาหลักสูตรอย่างหนึ่งเพื่อให้เหมาะ สมกับโรงเรียนหรือระบบโรงเรียน จุดมุ่ง หมายของการสอน วัสดุอุปกรณ์ วิธีสอน รวมทั้งการประเมินผล ส่วนคำว่าเปลี่ยนแปลงหลักสูตร หมายถึงการแก้ไขหลัก สูตรให้แตกต่างไปจากเดิม เป็นการสร้างโอกาสทางการเรียนขึ้นใหม่
กล่าวว่า การพัฒนาหลัก สูตร คือ การพัฒนาหลัก สูตรและการสอนคือ ระบบโครง สร้างของการจัดโปรแกรมการสอน กำ หนดจุดมุ่ง หมาย เนื้อหาสาระ การปรับปรุงตำรา แบบเรียน คู่มือครู และสื่อการเรียนต่าง ๆ การวัดและประเมินผลการใช้หลักสูตร การปรับปรุงแก้ไขและการให้ การอบ รมครูผู้ใช้หลักสูตรให้เป็น ไปตามวัตถุประสงค์ของการพัฒนาหลักสูตรและ การสอน รวมทั้งการบริหารและบริกาหลักสูตร
     การพัฒนาหลักสูตร คือ   การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงหลักสูตร พัฒนาหลักสูตรและการสอน ระบบโครงสร้างของการจัดโปรแกรม การสอนให้เหมาะสม กับบุคคลและสภาพสังคมเพื่อให้ได้หลักสูตรที่ดีมีประสิทธิ ภาพ อันจะส่งผลดีในการพัฒนาเยาวชนต่อไป

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น